วันศุกร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2554

4759A42Eภาพที่เกิดจากกระจกโค้ง
กระจกโค้งมี 2 ลักษณะ  คือ โค้งนูนและโค้งเว้า  เมื่อรังสีขนานตกกระทบกระจกก็จะเกิดการสะท้อนที่เป็นไปตามกฎการสะท้อนแสงโดยมีเส้นปกติปกติของส่วนโค้งคือเส้นแนวรัศมีของส่วนโค้งนั้นและแนวรัศมีดังกล่าวจะไปพบกันที่จุดศูนย์กลางของส่วนโค้งนั้นเอง  ถ้า R คือขนาดของความยาวของรัศมีของส่วนโค้ง  พบว่าแนวรังสีสะท้อนจะไปตัดกันที่จุดโฟกัส( f ) ของส่วนโค้งเสมอโดย = 2f  
สูตรที่ใช้คำนวณเกี่ยวกับกระจกโค้ง
เมื่อวัดจากขั้วกระจก P   ออกไป  ให้
U = ระยะวัตถุ                      v  =   ระยะภาพ
F   =  ความยาวโฟกัส        R  = รัศมีความโค้ง
การใช้เครื่องหมาย
1.              F ,  R มีเครื่องหมาย เป็น +  เมื่อเป็นกระจกเว้า
           มีเครื่องหมายเป็น เมื่อเป็นกระจกนูน
2.             u  ระยะวัตถุ  มีเครื่องหมายเป็น + เมื่ออยู่หน้ากระจก
u/ = ขนาดวัตถุ
3.             v  ระยะภาพ มีเครื่องหมายเป็น + เมื่ออยู่หน้ากระจก ( ภาพจริง )
v/ =ขนาดภาพ
                      มีเครื่องหมายเป็นเมื่อภาพอยู่หลังกระจก  ( ภาพเสมือน)
4.             m กำลังขยาย มีเครื่องหมาย เป็น +  เมื่อเป็นภาพจริง






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น